โพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยของ "พ่อ"
ศูนย์เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง

ติดต่อเรา

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)


User login

วิปริตอุณหภูมิโลก แผ่นดินแห้ง น้ำ แข็งละลาย

  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_term_node_tid::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/taxonomy/views_handler_filter_term_node_tid.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 0.

ตัวแทนของรัฐบาลได้ออกรายงานสรุปผลการศึกษาออกมา เมื่อปี 1996 ว่ามนุษย์คือผู้ทำให้โลก ร้อนขึ้นโดยไม่ควบคุมและยืนยันว่าปี 1996 และ 1997 ที่ผ่านมาโลกเราร้อนมากที่สุดเป็นประวัติการณ์จากตัวเลขการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จาก ปีเริ่มต้นอุตสาหกรรม ค.ศ.1860 หรือประมาณ 7,000 ล้าน ตัน ต่อปีเป็นอย่างน้อย ซึ่งตัวเลขนี้จะทำให้บรรยากาศโลกร้อนขึ้นอีกหลายองศา ฟาเรนไฮต์ ในอีก 20 ปีข้างหน้า ได้มีการคาดการณ์ว่าโลกจะร้อนขึ้นเฉลี่ย 1.8 ถึง 6.3 องศาฟาเรนไฮต์ ในปี 2060 โดย อาจจะน้อยหรือมากกว่าในบางภูมิภาค ขณะที่สหรัฐอเมริกานั้น อาจจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 5 -10 องศา โดยความชื้นผิวดินน้อยลงร้อยละ 10-30 แม้ตัวเลขนี้ดูเหมือนจะ เล็กน้อย แต่ทว่าจะส่งผลให้ ดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงมหาศาล ดังที่เกิดมาแล้วในหลายส่วนของโลก อาทิ หนาวจัดกว่าปกติ ร้อนกว่าที่เคยเป็น หรือน้ำท่วมใหญ่ในเขตที่ไม่เคยผจญน้ำท่วมมาก่อน รายงานจาก สำนักงานสมุทรศาสตร์และบรรยากาศของสหรัฐ ได้ออกรายงาน เมื่อ 8 มกราคม 1998 ว่า ปี 1997 นับเป็นปีที่ร้อนที่สุดในรอบ 100 ปี ร้อนกว่าปี 1990 ที่ เคยร้อนมากที่สุดในอดีตประมาณ 8 ส่วน100 ของ 1 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังว่าปีที่ร้อนมาก 9 ปี ในศตวรรษนี้เกิดขึ้นในช่วง 11 ปีหลังนายทอม คาร์ล นักวิทยาศาสตร์อาวุโสของสำนักงานสมุทรศาสตร์ รายงานว่าอุณหภูมิความร้อนในมหาสมุทร ในปี 1997 สูง กว่าปีใดๆ ในอดีต คือ สูงขึ้นเศษ 4 ส่วน 10 1 องศาเซลเซียส (โดยเฉลี่ยในช่วง 30 ปี จาก 1961-1990)

อเมริการ้อนขึ้นอีก 5-7 องศา

โดยสิ่งที่ทำให้น้ำทะเลร้อนขึ้นคือภาวะ เอ ลนิโญ นักวิทยาศาสตร์พบว่าน้ำแข็งที่ขั้วโลกเหนือที่จับ แข็งมานานนักหนาเริ่มละลายแล้ว และเมื่อขุดเจาะลงไปในดินแถบขั้วโลก เหนือ เช่น ที่เมืองแฟร์แบงค์ รัฐอลาสก้า พบว่าอุณหภูมิใต้ ดินสูงขึ้นด้วย ที่น่าแปลกคือ ในปี 1997 นั้นทุกภูมิภาคของ โลกร้อนขึ้น ยกเว้น อเมริกาเหนือซีกตะวันออก เขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและประเทศจีน กลับมีอากาศเย็นลงสันนิษฐานว่าในเขตเหล่านี้มีการปล่อยกำมะถัน ออกไซด์ ขึ้นไปในบรรยากาศมากซึ่งจะไปปกคลุมและสะท้อนแสงอาทิตย์ กลับไปในบรรยากาศ อีก 30 ปี ธารน้ำแข็งจะละลายหมด

อีก 30 ปี ธารน้ำแข็งละลาย

โดยสิ่งที่ทำให้น้ำทะเลร้อนขึ้นคือภาวะ เอ ลนิโญ นักวิทยาศาสตร์พบว่าน้ำแข็งที่ขั้วโลกเหนือที่จับ แข็งมานานนักหนาเริ่มละลายแล้ว และเมื่อขุดเจาะลงไปในดินแถบขั้วโลก เหนือ เช่น ที่เมืองแฟร์แบงค์ รัฐอลาสก้า พบว่าอุณหภูมิใต้ ดินสูงขึ้นด้วย ที่น่าแปลกคือ ในปี 1997 นั้นทุกภูมิภาคของ โลกร้อนขึ้น ยกเว้น อเมริกาเหนือซีกตะวันออก เขตทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและประเทศจีน กลับมีอากาศเย็นลงสันนิษฐานว่าในเขตเหล่านี้มีการปล่อยกำมะถัน ออกไซด์ ขึ้นไปในบรรยากาศมากซึ่งจะไปปกคลุมและสะท้อนแสงอาทิตย์ กลับไปในบรรยากาศ อีก 30 ปี ธารน้ำแข็งจะละลายหมด

แดนเนียล ฮิกเกล แห่งมหาวิทยาลัยเมสสาชูเซตต์ กล่าวว่า "การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกแม้เพียง เล็กน้อยจะมีผล ขยายกว้างเมื่อเกิดขึ้นกับระบบ ชีววิทยาทั้งมวล" ไข่ของปลาน้ำจืดจะไวมากต่อการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของน้ำ หากอุณหภูมิของน้ำ ในลำธารสูงขึ้น 6 องศาฟาเรนไฮต์ ปลาเทร้าในลำธารจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้ในช่วงล่างของลำธาร เขต เทือกเขาแอปปาเลเชียน แต่ปลาทะเลบางชนิดจะมีพื้นที่หากินมากขึ้นไปในเขตคานาดา อีกราว 300 ไมล์ ซึ่งแต่เดิมขึ้นไปไม่ได้เพราะน้ำเย็นจัดจึงเป็น ผลดีต่อชาวประมงในแคนาดามีตัวเลขระบุว่าทุกอุณหภูมิเฉลี่ยที่สูงขึ้น 1.8 องศาฟาเรนไฮต์ จะทำให้ค่าใช้จ่ายในการทำความอบอุ่นในบ้านเรือนชาวอเมริกาลดลงร้อยละ 11 ชาวอเมริกันในเขตเหนือ เช่น รัฐวิสคอนซิล จะลดค่าใช้ จ่ายในการขนหิมะทิ้งได้มาก ขณะที่อุทยานธารน้ำแข็งในรัฐมอนตานาจะสูญเนียรายได้ จากการ ท่องเที่ยวที่เคยได้ปีละ 80 ล้านดอลลาร์เพราะธารน้ำแข็งจะ ละลายหมดเมื่อถึง ปี 2030 แม้จะยังไม่มีข้อมูลยืนยันว่าจะ เกิดอะไรขึ้นกับโลกใบนี้หากโลกร้อนขึ้น แต่ที่แน่นอนและเกิดขึ้นแล้ว คือระดับน้ำ ทะเล จะสูงขึ้นถึง 10 นิ้ว และ IPCC ได้ ทำนายว่าจะเพิ่มสูงขึ้นอีก 12 นิ้ว ในปี 2050 และ เพิ่มเป็น 23 นิ้ว ในปี 2100 สหรัฐจะสูญเสีย พื้นที่ชายฝั่งทะเลไปราว 10,000 ตารางไมล์ และหากน้ำทะเลสูงขึ้น 2 ฟุต เกาะสมิธในอ่าวเซอ ปีค ที่ชาวเกาะยังคงพูด ภาษาอังกฤษแบบสมัยควีนอลิซาเบธจะจมหายไปในทะเล

ขณะที่ชายหาดที่มอมมัธเคาน์ตี้ ในนิวเจอร์ซี่และชายหาดลองไอแลนด์ ในนิวยอร์ค แม้น้ำทะเลขึ้นสูงเพียง 1 ฟุตในปี 2050 หาดจะหดไปราว 100 ฟุต (เสรีภาพ, 2541 : 5-6)นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการประเมินผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นโดยใช้แบบจำลองภูมิอากาศ โดยอาศัยสมมติฐานที่ ว่าถ้าหากปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของโลกในปี 2100 เพิ่ม ขึ้นเป็น 2 เท่า จากระดับปัจจุบัน พบว่าอุณหภูมิ ผิวพื้นโดยเฉลี่ยทั่วโลกสูงขึ้นประมาณ 1 ถึง 3.5 องศาเซลเซียสและระดับน้ำทะเลสูงขึ้นประมาณ 15 ถึง 95 เซนติเมตร ซึ่ง ส่งผลต่อระบบนิเวศน์ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานของมนุษย์ โดยประมาณว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ก็เพียงพอที่จะทำให้เกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและการฟื้นฟูสภาพป่า โดย คาดว่าหนึ่งในสามของป่าที่มีอยู่ทั่วโลกจะเปลี่ยนแปลงอย่างกว้างขวางด้าน ชนิดพันธุ์พืช โดยเฉพาะกับบริเวณ ละติจูดสูงๆ ขณะที่ในบริเวณ พื้นที่ น้ำแข็งปกคลุมประมาณว่าหนึ่งในสามถึงครึ่งหนึ่งของภูเขาน้ำแข็งในปัจจุบันจะ หายไปในอีก100 ปีข้างหน้า

สำหรับภัยต่อมนุษย์นั้น จะเห็นผลชัดเจนกับประชากรบริเวณชายฝั่ง โดยประมาณว่าจะมีประชากรประมาณ 46 ล้านคนต่อปี ในปัจจุบันที่เสี่ยงภัยต่อน้ำท่วมเนื่องจากคลื่นซัดฝั่ง และหากระดับน้ำ ทะเลสูงขึ้น 1 เมตร จำนวนผู้เสี่ยงภัยน้ำท่วมจะ สูงถึง 118 ล้านคนโดยเฉพาะกับประเทศที่เป็นเกาะเล็กๆจากการ ศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการที่ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น 1 เมตร ซึ่งเป็นค่าสูงสุดตามที่ประมาณการสำหรับ ปี 2100 พบว่าเกาะ เล็กๆ และพื้นที่บริเวณปากแม่น้ำเป็นบริเวณที่เสี่ยงภัยสูง โดยได้ประเมินการสูญเสียแผ่นดินของประเทศ ต่างๆ กับระบบป้องกันภัยที่มีอยู่ เช่น ปัจจุบันว่าประเทศอุรุกวัย จะสูญเสียร้อยละ 0.05 อียิปต์ ร้อยละ 1 เนเธอร์แลนด์ ร้อย ละ 6 บังคลาเทศ ร้อยละ 17.5 และ ร้อยละ 80 สำหรับเกาะปะการังมาจูโรในหมู่เกาะ มาร์แชล และประชากรที่ได้รับผลกระทบจะมีมาก ประมาณ 70 ล้าน คนในจีนและบังคลาเทศ

แหล่งที่มา: 
www.sawasdee.bu.ac.th/article/sgl4204024.htm