โพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยของ "พ่อ"
ศูนย์เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง

ติดต่อเรา

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)


User login

ภัยพิบัติ

  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_term_node_tid::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/taxonomy/views_handler_filter_term_node_tid.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_node_status::operator_form() should be compatible with views_handler_filter::operator_form(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/node/views_handler_filter_node_status.inc on line 14.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  1. สำนักงานสำรวจด้านธรณีวิทยาของสหรัฐฯ ระบุว่า เกิดเหตุแผ่นดินไหวในภาคตะวันออกของพม่า วัดแรงสั่นสะเทือนได้ 7 ริกเตอร์ โดยศูนย์กลางแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นบริเวณเชิงเขาในประเทศพม่าใกล้กับชายแดนไทย และลาว มีความลึกเพียงประมาณ 10 กิโลเมตร

    สำนักงานสำรวจด้านธรณีวิทยาของสหรัฐฯ ระบุว่า เกิดเหตุแผ่นดินไหว ในภาคตะวันออกของพม่า วัดแรงสั่นสะเทือนได้ 7 ริกเตอร์ โดยศูนย์กลางแรงสั่นสะเทือนเกิดขึ้นบริเวณเชิงเขาในประเทศพม่าใกล้กับชายแดนไทย และลาว มีความลึกเพียงประมาณ 10 กิโลเมตร

    อย่างไรก็ตาม ไม่มีการประกาศเตือนภัยสึนามิ โดยคณะผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว ระบุว่า เหตุแผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นในภาคพื้นดินที่อยู่ห่างไกลเกินกว่าจะทำให้เกิดคลื่นยักษ์ในมหาสมุทรอินเดีย

    แหล่งที่มา: 
    www.bangkokbiznews.com
  2. เหตุการณ์สึนามิขนาดใหญ่ทีเกิดจากแผ่นดินไหวความแรงถึง 9 ริกเตอร์ นับเป็นหายนภัยครั้งใหญ่ที่สุดที่มนุษยชาติในยุคนี้จดจำได้ จึงเห็นความจำเป็นที่จะต้องเขียนถึง แนวทางรอดของมนุษยชาติในปัจจุบัน ที่อาจารย์ยักษ์มองเห็นว่าเป็นทางรอดเดียวที่เหลืออยู่ คือ การหวนคืนกลับสู่ความเรียบง่าย

    ฉบับที่แล้ว อาจารย์ยักษ์เขียนเรื่อง ทางรอดของสังคมไทย ฝากไว้กับ 40 ราชภัฏฯ ค้างไว้ ว่าจะมาต่อสัปดาห์นี้ แต่เหตุการณ์ภัยพิบัติที่สะเทือนความรู้สึกของคนไทยทุกคน และสร้างความหวั่นไหวไปทั่วโลก นั่นคือเหตุการณ์สึนามิขนาดใหญ่ทีเกิดจากแผ่นดินไหวความแรงถึง 9 ริกเตอร์ นับเป็นหายนภัยครั้งใหญ่ที่สุดที่มนุษยชาติในยุคนี้จดจำได้ จึงเห็นความจำเป็นที่จะต้องเขียนถึง แนวทางรอดของมนุษยชาติในปัจจุบัน ที่อาจารย์ยักษ์มองเห็นว่าเป็นทางรอดเดียวที่เหลืออยู่ คือ การหวนคืนกลับสู่ความเรียบง่าย

    แหล่งที่มา: 
    พอแล้วรวย คม ชัด ลึก 19 มีนาคม 2554
  3. 11 มี.ค.เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง 8.9 ริกเตอร์ และคลื่นสึนามิสูงกว่า 7 เมตร เข้าถล่มพื้นที่เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ตามด้วยอาฟเตอร์ช็อครุนแรงในอีกครึ่งชั่วโมงต่อมา

    วันนี้ 11 มีนาคม 2554 เวลาประมาณ 12.46 น.ตามเวลาในประเทศไทย เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง 8.9 ริกเตอร์ และคลื่นสึนามิสูงกว่า 7 เมตร เข้าถล่มพื้นที่เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ตามด้วยอาฟเตอร์ช็อครุนแรงตามมาอีกหลายสิบครั้ง

    มีรายงานผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก หลังคาอาคารยุบตัว รถในถนนหลายร้อยคันลอยอยู่ในน้ำ และมีประกาศเตือนภัยสึนามิสำหรับอีกหลายประเทศด้วยแต่ไม่มีประเทศไทยอยู่ในรายชื่อประเทศที่อาจได้รับผลกระทบจากสึนามิ

    ทั้งนี้ ได้เกิดแผ่นดินไหวความแรง 6.2 ริกเตอร์เมื่อเช้ามืดของวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ที่เกาะฮอนชู เช่นกัน แต่ไม่มีรายงานความเสียหาย

  4. เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 ริกเตอร์ในประเทศลาว เมื่อเวลา 22.53 น. ของวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554

    แหล่งที่มา: 
    by Watsana http://news.voicetv.co.th/thailand/
  5. พายุไซโคลน Yasi ขึ้นฝั่งออสเตรเลียเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2554

    พายุไซโคลน Yasi ขึ้นฝั่งออสเตรเลียเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2554

    จากรายงานข่าว พายุ Yasi ที่มีขนาดใหญ่ถึงประมาณ 500 ก.ม. และศูนย์กลางพายุขนาด 100 ก.ม. ได้พัดขึ้นฝั่งออสเตรเลีย ทางตอนเหนือของรัฐควีนส์แลนด์ด้วยความเร็วลมถึง 250-280 ก.ม. ต่อชั่วโมง หลังจากที่ออสเตรเลีย เพิ่งจะเผชิญกับปัญหาน้ำท่วมครั้งใหญ่ไปไม่นาน

    ไซโคลน Yasi มุ่งหน้าจอร์จทาวน์ และชาร์เตอร์ทาวเวอร์ แต่อ่อนกำลังลงแล้ว ทิ้งไว้เพียงซากของความเสียหายของต้นไม้ อาคาร บ้านเรือนต่างๆ ประชาชนยังคงได้รับการเตือนให้อยู่ในที่ปลอดภัย

  6. 2553 สัญญาณหายนะโลก?

    Submitted by veevong on January 14, 2011 - 16:16
    ตั้งหัวข้อไว้อย่างนี้ ก็ไม่ใช่ว่าอยากจะให้แตกตื่น เพราะปีหน้าค.ศ.2012 ที่เคยเป็นประเด็นมาแล้ว เพียงแค่อยากจะประมวลให้เห็นว่ามีอะไรแปลกๆ เกิดขึ้นบนโลกอย่างที่เรียกว่า “ผิดปกติ” ซึ่งบ้างก็มีคำอธิบาย แต่บางเรื่องก็ไม่มี

    โดย จิตติมา บ้านสร้าง 

    ตั้งหัวข้อไว้อย่างนี้ ก็ไม่ใช่ว่าอยากจะให้แตกตื่นเพราะปีหน้าค.ศ.2012 ที่เคยเป็นประเด็นมาแล้ว เพียงแค่อยากจะประมวลให้เห็นว่ามีอะไรแปลกๆ เกิดขึ้นบนโลกอย่างที่เรียกว่า “ผิดปกติ”  ซึ่งบ้างก็มีคำอธิบาย แต่บางเรื่องก็ไม่มี

    แหล่งที่มา: 
    www.greenworld.or.th
  7. เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.4 ริกเตอร์ นอกชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก เบื้องต้น ยังไม่มีรายงานความเสียหาย

    ญี่ปุ่นแผ่นดินไหว 7.4 ริกเตอร์

    แหล่งที่มา: 
    โพสต์ทูเดย์ 22 ธันวาคม 2553
  8. กราฟแสดงภัยพิบัติธรรมชาติทั่วโลก เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ

     

    กราฟแสดงภัยพิบัติธรรมชาติทั่วโลก เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญ แม้ส่วนหนึ่งจะมาจากการสื่อสารที่รวดเร็วขึ้นและประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น แต่อัตราเพิ่มของพายุไซโคลน และน้ำท่วมเปรียบเทียบกับการเกิดแผ่นดินไหควรหรือไม่ที่จะต้องตั้งคำถามว่า "นี่คือผลกระทบของโลกร้อน?"

    แหล่งที่มา: 
    วารสารจุดเปลี่ยน => Centre for Research on the Epidemiology of Disasters (CRED)